ต้องไม่ละเมิดศีลด้วยตนเอง
ไม่แนะนำให้ผู้อื่นทำลายศีล
และไม่ยินดีเมื่อผู้อื่นทำลายศีลแล้ว
นิวรณ์ ๕ อันควรละ ได้แก่
กามฉันทะ ความรักระหว่างเพศ
ปฏิฆะ ความหงุดหงิดอาฆาตพยาบาท
ถีนมิทธะ ความง่วงเหงาเกียจคร้าน
อุทธัจจะกุกกุจจะ ความฟุ้งซ่านของจิต
วิจิกิจฉา ความสงสัยในผลของการปฏิบัติ
ธรรมะของฉัน
วันเสาร์ที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2553
วิธีฝึก ขั้นตอนการฝึก มโนมยิทธิ แบบครึ่งกำลัง
อานิสงค์ในการฝึก “ มโนมยิทธิ “
1. ดอกไม้ 3 สี / ธูป 3 ดอก / เทียนหนัก 1 บาท 2 เล่ม / ได้อานิสงค์ เบื้องต้น คือ “ อามิสบูชา “ แก่พระพุทธเจ้า
2. บริจากเงิน 1 สลึง หรือ 1 บาท เป็นค่าบูชาครู ( คือ พระรัตนตรัย ) ได้อานิสงค์ ใน “ จาคานุสสติกรรมฐาน “
3. สมาทานพระกรรมฐาน ก่อนทุกครั้ง ได้อานิสงค์ ใน “ พุทธานุสติ ธรรมมานุสสติ สังฆานุสติ “ และ “ อิธิษฐานบารมี “
4. เมื่อเริ่มนั่งสมาธิ จิตทรงตัวในดี เบื้องต้น ว่างจากกิเลสชั่วขณะ วันหนึ่งชั่วขณะจิตหนึ่ง ได้ชื่อว่า “ เป็นผู้ไม่ว่างจากฌาน “ ได้อานิสงค์ หากตายตอนนั้นได้อยู่ที่ สวรรค์ก่อน
5. เมื่อกำหนดรู้ลมหายใจ เข้า / ออก ได้อานิสงค์ “ อานาปานุสติกรรมฐาน “
6. เมื่อบริกรรมภาวนา “ นะ มะ / พะทะ“ รวมกำลังของกสิณ หากฝึกได้เชี่ยวชาญแล้ว จะทรงอภิญญา 5
นะ ในที่นี้ท่านหมายถึง ธาตุดิน ได้อานิสงค์ ของ “ กสิณดิน “
มะ ในที่นี้ท่านหมายถึง ธาตุน้ำ ได้อานิสงค์ ของ “ กสิณน้ำ “
พะ ในที่นี้ท่านหมายถึง ธาตุลม ได้อานิสงค์ ของ “ กสิณลม “
ทะ ในที่นี้ท่านหมายถึง ธาตุไฟ ได้อานิสงค์ ของ “ กสิณไฟ “
7. เมื่อในขณะ บริกรรม ภาวนา ตามลมหายใจ เข้า /ออก ให้กำหนดพุทธนิมิต ให้จิตป็นผู้รู้ จิตเป็นผู้เห็น ได้อานิสงค์
“ พุทธานุสสติ “ ในบางกรณี ระลำถึงพระอริยสงฆ์ ได้อานิสงค์ “ สังฆานุสสติ “
8. เมื่อขณะจิตทรงอารมณ์ฌาน ที่ 1 2 3 4 ได้อานิสงค์ ขององค์ฌานต่างตามลำดับ เบื้องต้น จะเกิดความคล่องตัว ในวิปัสสนาญาณ และได้อานิสงค์ ในการเกิดในพรหมโลก ตั้งแต่ชั้นที่ 1 ถึง 12 ตามแต่กำลังใจในการเข้าฌานได้
9. เมื่อมาตั้งกำลังใจในการพิจารณา ใน “ อริยะสัจจะ “ ข้อที่ 1 คือ “ ทุกข์ “ ในเบื้องต้นอันได้แก่
( ๑ ). ความเกิดเป็นทุกข์
( ๒ ). ความป่วยไข้ไม่สบายเป็นทุกข์
( ๓ ). ความพลัดพรากของรักของชอบเป็นทุกข์
( ๔).ความแก่ที่ย่างก้าวเข้ามาเป็นทุกข์
( ๕ ). ความตายที่ก้าวเข้ามาเป็นทุกข์ /……ได้อานิสงค์ ใน “ ธรรมมานุสสติกรรมฐาน “ เนื่องด้วย “ วิปัสสนาญาณ 9 “
10. เมื่อตั้งใจอธิษฐานว่า ขึ้นชื่อว่าการเกิดใน พรหมโลก เทวะโลก มนุษยโลก อบายภูมิ4 เราไม่ต้องการที่จะไปเกิดอีก ภายหลังจากตายไปในชาตินี้ เราขอมุ่งตรงอย่างเดียว คือพระนิพพาน ได้อานิสงค์ “ ขณิกะนิพพาน “
ในขณะนั้นจิตจะว่างจากกิเลสชั่วขณะ เข้าสู่กระแสแห่ง อริยะเจ้าเบื้องต้น ( พระโสดาบัน ต้นๆ ) ชั่วขณะ
11. จึงเกิดเป็นทิพย์จักขุญาณ หรือเป็นผลของอภิญญานั้นเอง ได้อานิสงค์ ให้ถอด “ อทิสมานกาย “ ได้เพราะจิตว่าง
จากกิเลส คือเครื่องเศร้าหมองร้อยใจ
12.เมื่อได้พบพระพุทธเจ้า ที่นำอทิสมานกายไปสู่โลกแห่งความเป็นทิพย์ ได้อานิสงค์ พุทธานุสติ
เมื่อได้พบพระอริยะสงฆ์ ที่นำอทิสมานกายไปสู่โลกแห่งความเป็นทิพย์ ได้อานิสงค์ สังฆานุสติ
เมื่อได้พบ เทวดา หรือ พรหม ที่นำอทิสมานกายไปสู่โลกแห่งความเป็นทิพย์ ได้อานิสงค์ เทวตานุสติ
13. เมื่อได้บารมีมาถึงลำดับที่ 12 นี้แล้วความดีเดิม ที่เคยฝึกได้ “ อภิญญา 5 “ จะรวมตัวกันจนเป็นผลในชาติปัจจุบัน เป็นอภิญญา เล็กๆน้อยๆ คือ ทิพยจักขุญาณ และ “ ฤทธิ์ทางใจ “ นั้นเอง ได้อานิสงค์ สามารถที่จะท่องเที่ยว ใน อบายภูมิ 4 , มนุษยโลก , เทวะโลก , พรหมโลก , และ เมืองพระนิพพาน ในที่สุด
14.เมื่อได้ “ ฤทธิ์ทางใจ “ แล้ว จะได้อานิสงค์ เป็นความรู้ตามมาอีก 8 อย่าง หรือ ญาณ 8 นั้นเอง วึ่งท่านจะได้ศึกษาในเนื้อหาต่อไป
15. เมื่อรู้ความไม่เที่ยงใน ภพทั้ง 4 แล้ว และรู้ความเที่ยงในพระนิพพาน “จิตก็จะเบื่อหน่ายในการเกิด ในภบทั้ง 4 และตั้งกำลังใจไว้ที่พระนิพพาน เพียง สถานที่เดียว
ด้วยเหตุทั้งหลายเหล่านี้เองขอให้ข้าพระพุทธเจ้า และหมู่คณะจงได้เข้าถึงซึ่งพระนิพพานในชาติปัจจุบันนี้เถิด
การตั้งกำลังใจในขณะฝึก ฤทธิ์ทางใจ
การตั้งกำลังใจในขณะฝึก สำหรับ“ ท่านที่ฝึกใหม่ “ หรือ “ ท่านที่เคยฝึกแล้วแต่ยังไม่ได้ ฤทธิ์ทางใจ ควรที่จะเตรียมกำลังใจ ไว้ก่อนพอสมควร ดังนี้
๑.เป็นผู้มีความศรัทธาในพระพุทธศาสนา เป็นเบื้องต้น
๒.เป็นผู้ให้ทานตามสมควร หรือ ค่าครู
๓. เป็นผู้ที่รักษาศีลดี เป็นปรกติ
๔.มีจิตต์ตั้งมั่นในสมาธิ ตามแต่กำลังใจของตน “ ท่านหมายเอาถึงจิตต์เป็นสุข เป็นเกณฑ์ “
หรือทรงฌาน ในระดับต่าง ( ได้แก่ คณิกสมาธิ อุปจาระสมาธิ ฌานที่ ๑ / ฌานที่ ๒ / ฌานที่ ๓ / ฌานที่ ๔ ) หรือ ( อรูปฌาน ๑ / อรูปฌาน ๒ / อรูปฌาน๓ / อรูปฌาน ๔ ) ควรที่จะปฏิบัติสมาธิให้มีความต่อเนื่อง
ในกรณีที่ต้องการฝึก “ ฤทธิ์ทางใจ “ แบบครึ่งกำลังควรที่จะตั้งกำลังใจดังนี้
๔.๑. กำหนดรู้ลมหายใจเข้า หายใจออก ตามความเป็นจริง เช่น จังหวะในการหายใจเข้าสั้นหรือยาว ก็มีสติรู้และรักษาระดับจังหวะในการหายใจนั้น
๔.๒. กำหนดรู้ในคำภาวนา ให้ควบคู่กับลมหายใจ คือ เมื่อหายใจเข้า นึกรู้อยู่ในใจว่า “ นะ มะ “
กำหนดรู้ในคำภาวนา ให้ควบคู่กับลมหายใจ คือ เมื่อหายใจออก นึกรู้อยู่ในใจว่า “ พะ ทะ “
๔.๓. กำหนดรู้ในภาพนิมิต ของ “ พระพุทธเจ้า “ หรือ “ พระอริยะสงฆ์ “ ในอิริยาบทต่างๆ หรือ ตามความพอใจ หรือ จินตนาการความจำ ( สัญญา คือ การจำได้หมายรู้ ในนิมิต )
ในกรณี ที่จำภาพนิมิต ไม่ได้จริงๆ ก็ไม่ต้องฝืนอารมณ์จิต หรือบังคับจิตต์ให้มีความรู้สึกว่าเห็น เพราะจะทำให้เกิดความหนักใจ
๔.๔. อิริยาบท ๔ ให้เลือกใช้อิริยาบทอย่างใดอย่างใดอย่างหนึ่ง ตามความพอใจ ในอิริยาบทนั้นๆ
๔.๕.ระยะเวลาในการปฏิบัติสมาธิ หมายเอาอารมณ์จิตต์ที่เป็นสุข เป็นเกณฑ์ เช่น ๕ นาที หรือ ๑๐ นาที หรือ ๓๐ นาที เป็นต้น
1. ดอกไม้ 3 สี / ธูป 3 ดอก / เทียนหนัก 1 บาท 2 เล่ม / ได้อานิสงค์ เบื้องต้น คือ “ อามิสบูชา “ แก่พระพุทธเจ้า
2. บริจากเงิน 1 สลึง หรือ 1 บาท เป็นค่าบูชาครู ( คือ พระรัตนตรัย ) ได้อานิสงค์ ใน “ จาคานุสสติกรรมฐาน “
3. สมาทานพระกรรมฐาน ก่อนทุกครั้ง ได้อานิสงค์ ใน “ พุทธานุสติ ธรรมมานุสสติ สังฆานุสติ “ และ “ อิธิษฐานบารมี “
4. เมื่อเริ่มนั่งสมาธิ จิตทรงตัวในดี เบื้องต้น ว่างจากกิเลสชั่วขณะ วันหนึ่งชั่วขณะจิตหนึ่ง ได้ชื่อว่า “ เป็นผู้ไม่ว่างจากฌาน “ ได้อานิสงค์ หากตายตอนนั้นได้อยู่ที่ สวรรค์ก่อน
5. เมื่อกำหนดรู้ลมหายใจ เข้า / ออก ได้อานิสงค์ “ อานาปานุสติกรรมฐาน “
6. เมื่อบริกรรมภาวนา “ นะ มะ / พะทะ“ รวมกำลังของกสิณ หากฝึกได้เชี่ยวชาญแล้ว จะทรงอภิญญา 5
นะ ในที่นี้ท่านหมายถึง ธาตุดิน ได้อานิสงค์ ของ “ กสิณดิน “
มะ ในที่นี้ท่านหมายถึง ธาตุน้ำ ได้อานิสงค์ ของ “ กสิณน้ำ “
พะ ในที่นี้ท่านหมายถึง ธาตุลม ได้อานิสงค์ ของ “ กสิณลม “
ทะ ในที่นี้ท่านหมายถึง ธาตุไฟ ได้อานิสงค์ ของ “ กสิณไฟ “
7. เมื่อในขณะ บริกรรม ภาวนา ตามลมหายใจ เข้า /ออก ให้กำหนดพุทธนิมิต ให้จิตป็นผู้รู้ จิตเป็นผู้เห็น ได้อานิสงค์
“ พุทธานุสสติ “ ในบางกรณี ระลำถึงพระอริยสงฆ์ ได้อานิสงค์ “ สังฆานุสสติ “
8. เมื่อขณะจิตทรงอารมณ์ฌาน ที่ 1 2 3 4 ได้อานิสงค์ ขององค์ฌานต่างตามลำดับ เบื้องต้น จะเกิดความคล่องตัว ในวิปัสสนาญาณ และได้อานิสงค์ ในการเกิดในพรหมโลก ตั้งแต่ชั้นที่ 1 ถึง 12 ตามแต่กำลังใจในการเข้าฌานได้
9. เมื่อมาตั้งกำลังใจในการพิจารณา ใน “ อริยะสัจจะ “ ข้อที่ 1 คือ “ ทุกข์ “ ในเบื้องต้นอันได้แก่
( ๑ ). ความเกิดเป็นทุกข์
( ๒ ). ความป่วยไข้ไม่สบายเป็นทุกข์
( ๓ ). ความพลัดพรากของรักของชอบเป็นทุกข์
( ๔).ความแก่ที่ย่างก้าวเข้ามาเป็นทุกข์
( ๕ ). ความตายที่ก้าวเข้ามาเป็นทุกข์ /……ได้อานิสงค์ ใน “ ธรรมมานุสสติกรรมฐาน “ เนื่องด้วย “ วิปัสสนาญาณ 9 “
10. เมื่อตั้งใจอธิษฐานว่า ขึ้นชื่อว่าการเกิดใน พรหมโลก เทวะโลก มนุษยโลก อบายภูมิ4 เราไม่ต้องการที่จะไปเกิดอีก ภายหลังจากตายไปในชาตินี้ เราขอมุ่งตรงอย่างเดียว คือพระนิพพาน ได้อานิสงค์ “ ขณิกะนิพพาน “
ในขณะนั้นจิตจะว่างจากกิเลสชั่วขณะ เข้าสู่กระแสแห่ง อริยะเจ้าเบื้องต้น ( พระโสดาบัน ต้นๆ ) ชั่วขณะ
11. จึงเกิดเป็นทิพย์จักขุญาณ หรือเป็นผลของอภิญญานั้นเอง ได้อานิสงค์ ให้ถอด “ อทิสมานกาย “ ได้เพราะจิตว่าง
จากกิเลส คือเครื่องเศร้าหมองร้อยใจ
12.เมื่อได้พบพระพุทธเจ้า ที่นำอทิสมานกายไปสู่โลกแห่งความเป็นทิพย์ ได้อานิสงค์ พุทธานุสติ
เมื่อได้พบพระอริยะสงฆ์ ที่นำอทิสมานกายไปสู่โลกแห่งความเป็นทิพย์ ได้อานิสงค์ สังฆานุสติ
เมื่อได้พบ เทวดา หรือ พรหม ที่นำอทิสมานกายไปสู่โลกแห่งความเป็นทิพย์ ได้อานิสงค์ เทวตานุสติ
13. เมื่อได้บารมีมาถึงลำดับที่ 12 นี้แล้วความดีเดิม ที่เคยฝึกได้ “ อภิญญา 5 “ จะรวมตัวกันจนเป็นผลในชาติปัจจุบัน เป็นอภิญญา เล็กๆน้อยๆ คือ ทิพยจักขุญาณ และ “ ฤทธิ์ทางใจ “ นั้นเอง ได้อานิสงค์ สามารถที่จะท่องเที่ยว ใน อบายภูมิ 4 , มนุษยโลก , เทวะโลก , พรหมโลก , และ เมืองพระนิพพาน ในที่สุด
14.เมื่อได้ “ ฤทธิ์ทางใจ “ แล้ว จะได้อานิสงค์ เป็นความรู้ตามมาอีก 8 อย่าง หรือ ญาณ 8 นั้นเอง วึ่งท่านจะได้ศึกษาในเนื้อหาต่อไป
15. เมื่อรู้ความไม่เที่ยงใน ภพทั้ง 4 แล้ว และรู้ความเที่ยงในพระนิพพาน “จิตก็จะเบื่อหน่ายในการเกิด ในภบทั้ง 4 และตั้งกำลังใจไว้ที่พระนิพพาน เพียง สถานที่เดียว
ด้วยเหตุทั้งหลายเหล่านี้เองขอให้ข้าพระพุทธเจ้า และหมู่คณะจงได้เข้าถึงซึ่งพระนิพพานในชาติปัจจุบันนี้เถิด
การตั้งกำลังใจในขณะฝึก ฤทธิ์ทางใจ
การตั้งกำลังใจในขณะฝึก สำหรับ“ ท่านที่ฝึกใหม่ “ หรือ “ ท่านที่เคยฝึกแล้วแต่ยังไม่ได้ ฤทธิ์ทางใจ ควรที่จะเตรียมกำลังใจ ไว้ก่อนพอสมควร ดังนี้
๑.เป็นผู้มีความศรัทธาในพระพุทธศาสนา เป็นเบื้องต้น
๒.เป็นผู้ให้ทานตามสมควร หรือ ค่าครู
๓. เป็นผู้ที่รักษาศีลดี เป็นปรกติ
๔.มีจิตต์ตั้งมั่นในสมาธิ ตามแต่กำลังใจของตน “ ท่านหมายเอาถึงจิตต์เป็นสุข เป็นเกณฑ์ “
หรือทรงฌาน ในระดับต่าง ( ได้แก่ คณิกสมาธิ อุปจาระสมาธิ ฌานที่ ๑ / ฌานที่ ๒ / ฌานที่ ๓ / ฌานที่ ๔ ) หรือ ( อรูปฌาน ๑ / อรูปฌาน ๒ / อรูปฌาน๓ / อรูปฌาน ๔ ) ควรที่จะปฏิบัติสมาธิให้มีความต่อเนื่อง
ในกรณีที่ต้องการฝึก “ ฤทธิ์ทางใจ “ แบบครึ่งกำลังควรที่จะตั้งกำลังใจดังนี้
๔.๑. กำหนดรู้ลมหายใจเข้า หายใจออก ตามความเป็นจริง เช่น จังหวะในการหายใจเข้าสั้นหรือยาว ก็มีสติรู้และรักษาระดับจังหวะในการหายใจนั้น
๔.๒. กำหนดรู้ในคำภาวนา ให้ควบคู่กับลมหายใจ คือ เมื่อหายใจเข้า นึกรู้อยู่ในใจว่า “ นะ มะ “
กำหนดรู้ในคำภาวนา ให้ควบคู่กับลมหายใจ คือ เมื่อหายใจออก นึกรู้อยู่ในใจว่า “ พะ ทะ “
๔.๓. กำหนดรู้ในภาพนิมิต ของ “ พระพุทธเจ้า “ หรือ “ พระอริยะสงฆ์ “ ในอิริยาบทต่างๆ หรือ ตามความพอใจ หรือ จินตนาการความจำ ( สัญญา คือ การจำได้หมายรู้ ในนิมิต )
ในกรณี ที่จำภาพนิมิต ไม่ได้จริงๆ ก็ไม่ต้องฝืนอารมณ์จิต หรือบังคับจิตต์ให้มีความรู้สึกว่าเห็น เพราะจะทำให้เกิดความหนักใจ
๔.๔. อิริยาบท ๔ ให้เลือกใช้อิริยาบทอย่างใดอย่างใดอย่างหนึ่ง ตามความพอใจ ในอิริยาบทนั้นๆ
๔.๕.ระยะเวลาในการปฏิบัติสมาธิ หมายเอาอารมณ์จิตต์ที่เป็นสุข เป็นเกณฑ์ เช่น ๕ นาที หรือ ๑๐ นาที หรือ ๓๐ นาที เป็นต้น
บารมี 10
บารมี 10
บารมีี แปลว่า กำลังใจเต็ม บารมี 10 ทัศ มีดังนี้
บารมีี แปลว่า กำลังใจเต็ม บารมี 10 ทัศ มีดังนี้
- ทานบารมีี จิตของเราพร้อมที่จะให้ทานเป็นปกติ
- ศีลบารมี จิตของเราพร้อมในการทรงศีล
- เนกขัมมบารมี จิตพร้อมในการทรงเนกขัมมะเป็นปกติ เนกขัมมะ แปลว่า การถือบวช แต่ไม่ใช่ว่าต้องโกนหัวไม่จำเป็น
- ปัญญาบารมี จิตพร้อมที่จะใช้ปัญญาเป็นเครื่องประหัตประหารให้พินาศไป
- วิริยบารมี วิิริยะ มีความเพียรทุกขณะ ควบคุมใจไว้เสมอ
- ขันติบารมี ขันติ มีทั้งอดทน อดกลั้นต่อสิ่งที่เป็นปฏิปักษ์
- สัจจะบารมี สัจจะ ทรงตัวไว้ตลอดเวลา ว่าเราจะจริงทุกอย่าง ในด้านของการทำความดี
- อธิษฐานบารมี ตั้งใจไว้ให้ตรงโดยเฉพาะ
- เมตตาบารมี สร้างอารมณ์ความดี ไม่เป็นศัตรูกับใคร มีความรักตนเสมอด้วยบุคคลอื่น
- อุเบกขาบารมี วางเฉยเข้าไว้ เมื่อร่างกายมันไม่ทรงตัว ใช้คำว่า "ช่างมัน" ไว้ในใจ
วันศุกร์ที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2553
คาถาบูชาสมเด็จองค์ปฐม
คาถาบูชาสมเด็จองค์ปฐม
นะโม กาเยนะ วาจายะ เจตะสา วา วะชิรัง นามะ ปะฏิมัง อิทธิธรรมะปาฏิหาริยะกะรังสมเด็จพ่อองค์ปฐมต้นพุทธะรูปัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา อะหัง วันทามิ สัพพะโส สะทา โสตถี ภะวันตุ เม
สวดอย่างน้อย 9 จบ อย่างมากตลอดเวลา
คาถาแผ่เมตตาขอบารมีสมเด็จองค์ปฐม
นะโมพระพุทธสิกขีพระพุทธเจ้า ขอได้โปรดดลบันตาลให้สรรพสัตว์ทั้ง 3 โลก ได้หลุดพ้นจากภัยพิบัติวัฏฏสงสาร โดยสิ้นเชิงด้วยพระบารมีมิอาจประมาณ ลูกขอนอบน้อมนมัสการด้วยจิตใจ ขอให้ลูกมีจิตสะอาดสว่างใส หลุดพ้นไซร้สู่บ้านนิพพานเทอญ สัมปะจิตฉามิ
คุณ ประโยชน์ของการอุทิศส่วนกุศลแผ่เมตตาจิตให้สรรพสัตว์ทั้ง 3 โลกไปกับฉัพพรรณรังสี รัศมี 6 ประการ ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าองค์แรกเริ่มมีดังนี้
1. โปรดช่วยสรรพสัตว์ได้ แดนเปรต อสุรกาย มนุษย์โลก สัตว์ทั้งที่มีชีวิตและเป็นภูมิผีวิญญาณเร่ร่อน แผ่ไปทั่วเทวโลก พรหมโลก ได้รับโมทนาบุญกับเราการแผ่เมตตา แผ่ส่วนกุศลไปยังสรรพสัตว์ทั้ง 3 โลก รวมถึงเจ้ากรรมนายเวร จงทำทุกวัน จงตัดเวรตัดกรรม ให้อโหสิกรรมต่อกัน ยกเป็นอภัยทาน ถวายพระพุทธเจ้าถ้าเรา โกรธตอบจะเพิ่มภพชาติให้เกิดมาใช้หนี้เวรกรรมกันอีก
2. สวดด้วยจิตศรัทธาแท้ เทพ พรหมรักใคร่ สรรเสริญ เมตตาติดตามรักษาเราให้อยู่เย็นเป็นสุข
3. สวดตลอดเวลา คิดปรารถนาสิ่งใดก็สมหวัง
4. สวดตลอดเวลาจิตเป็นสมาธิ ภาวนาจิตไม่ฟุ้งซ่าน จิตสะอาดปราศจากนิวรณ์
5. จิตสะอาดสว่างไสว จิตหลุดพ้นจากการหลงยึดติดในขันธ์ 5 จิตเป็นจิตประภัสสร เป็น จิตพระอริยบุคคลได้ง่าย เพราะเป็นจิตที่มีเมตตา เคารพบูชาพระรัตนตรัยมองเห็นภัยในวัฏฏสงสาร เป็นจิตฉลาดไม่มีอวิชชา เป็นจิตที่มีพระนิพพานเป็นกรรมฐานได้ 8 กรรมฐาน คือ
8. พระคาถาสวดพระนามพระพุทธเจ้านี้ พระท่านให้ไว้แก่มวลมนุษย์มาจากเบื้องบนพระนิพพาน ให้สวดทุกวัน เพื่อช่วยมวลเวไนยสัตว์ และตนเองก็หลุดพ้นจากนรก เปรต อสุรกาย สัตว์เดรัจฉาน ไม่ต้องได้เกิดในแหล่งอบายภูมิ 4 อย่างนี้ เป็นการเสริมบารมีให้แก่ตนและผู้อื่น
9. การแผ่พลังจิตให้เป็นพลังไปรอบทิศจักรวาลทั้ง 3 โลกนั้น ทำจิตให้ว่างจากขันธ์ 5 ว่างจากกิเลสตัณหา ทำบุญกุศลทุกอย่าง ขอถวายทางจิตให้องค์สมเด็จพระ บรมครูพระพุทธเจ้าโปรดโมทนาบุญกุศลทุก ๆพระองค์ เพื่อประโยชน์สูงสุดแด่มวลสรรพสัตว์ทุกจิตดวง ธรรมญาณได้รับผลบุญที่ลูกแผ่ไป ให้ทุกดวงจิตธรรมญาณเทอญการขอแรงพลังจิตขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เป็นการขอแรงคลื่นวิทยุของท่านผู้เป็นใหญ่บุญบารมีใหญ่ ช่วยอีกแรงหนึ่งเพื่อให้สรรพสัตว์ 3 โลก ได้ยินคลื่นวิทยุได้ดียิ่งขึ้นจิตของสัตว์อบายภูมิน้อย นักที่จะได้รับได้ยินเหมือนคนตาบอด แต่ถ้าเขาโมทนายินดีรับกับการอุทิศบุญกุศลแผ่เมตตาไปให้กับเขา ก็ทำให้เขาเป็นสุข พ้นทุกข์จากอบายภูมิได้ทุกคนเราต้องทำจิตให้สะอาดทำจิตว่างจากขันธ์ 5 ปล่อยพลังจิตไปทั่วรอบทิศจักรวาล
10. สวดพระคาถาพระนามองค์สมเด็จพระปฐมบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า ฝากบุญกุศลไว้กับท่านท้าวยมราชได้แน่นอน โปรดสัตว์ได้ทั่วทั้ง 3 ไตรภพ แล้วแต่จะกำหนดจิตโปรดได้หมดทุกประเภท ทั้งชาติกำเนิด 4 คือ(เกิดในไข่ เกิดในคูต เกิดเป็นตัว เกิดขึ้นเอง เช่น ผี เทพ พรหม ) ภูมิวิถี 6 คือ
ต้องบำเพ็ญบารมีนาน 2 อสงไขยกับแสนกัป พระปัจเจกพุทธเจ้า ต้องบำเพ็ญบารมีนาน 2 อสงไขยกับแสนกัป พระพุทธเจ้าปัญญาธิกะ ต้องบำเพ็ญบารมีนาน 4 อสงไขยกับแสนกัป พระพุทธเจ้าศรัทธาธิกะ ต้องบำเพ็ญบารมีนาน 8 อสงไขยกับแสนกัป พระพุทธเจ้าวิริยะธิกะ ต้องบำเพ็ญบารมีนาน 16 อสงไขยกับแสนกัป
(คาถาแผ่เมตตาขอบารมีสมเด็จองค์ปฐมและอานิสงค์ การสวดคาถาแผ่เมตตานี้ได้มาจากท่านพระยายมราช)
นะโม กาเยนะ วาจายะ เจตะสา วา วะชิรัง นามะ ปะฏิมัง อิทธิธรรมะปาฏิหาริยะกะรังสมเด็จพ่อองค์ปฐมต้นพุทธะรูปัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา อะหัง วันทามิ สัพพะโส สะทา โสตถี ภะวันตุ เม
สวดอย่างน้อย 9 จบ อย่างมากตลอดเวลา
คาถาแผ่เมตตาขอบารมีสมเด็จองค์ปฐม
นะโมพระพุทธสิกขีพระพุทธเจ้า ขอได้โปรดดลบันตาลให้สรรพสัตว์ทั้ง 3 โลก ได้หลุดพ้นจากภัยพิบัติวัฏฏสงสาร โดยสิ้นเชิงด้วยพระบารมีมิอาจประมาณ ลูกขอนอบน้อมนมัสการด้วยจิตใจ ขอให้ลูกมีจิตสะอาดสว่างใส หลุดพ้นไซร้สู่บ้านนิพพานเทอญ สัมปะจิตฉามิ
คุณ ประโยชน์ของการอุทิศส่วนกุศลแผ่เมตตาจิตให้สรรพสัตว์ทั้ง 3 โลกไปกับฉัพพรรณรังสี รัศมี 6 ประการ ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าองค์แรกเริ่มมีดังนี้
1. โปรดช่วยสรรพสัตว์ได้ แดนเปรต อสุรกาย มนุษย์โลก สัตว์ทั้งที่มีชีวิตและเป็นภูมิผีวิญญาณเร่ร่อน แผ่ไปทั่วเทวโลก พรหมโลก ได้รับโมทนาบุญกับเราการแผ่เมตตา แผ่ส่วนกุศลไปยังสรรพสัตว์ทั้ง 3 โลก รวมถึงเจ้ากรรมนายเวร จงทำทุกวัน จงตัดเวรตัดกรรม ให้อโหสิกรรมต่อกัน ยกเป็นอภัยทาน ถวายพระพุทธเจ้าถ้าเรา โกรธตอบจะเพิ่มภพชาติให้เกิดมาใช้หนี้เวรกรรมกันอีก
2. สวดด้วยจิตศรัทธาแท้ เทพ พรหมรักใคร่ สรรเสริญ เมตตาติดตามรักษาเราให้อยู่เย็นเป็นสุข
3. สวดตลอดเวลา คิดปรารถนาสิ่งใดก็สมหวัง
4. สวดตลอดเวลาจิตเป็นสมาธิ ภาวนาจิตไม่ฟุ้งซ่าน จิตสะอาดปราศจากนิวรณ์
5. จิตสะอาดสว่างไสว จิตหลุดพ้นจากการหลงยึดติดในขันธ์ 5 จิตเป็นจิตประภัสสร เป็น จิตพระอริยบุคคลได้ง่าย เพราะเป็นจิตที่มีเมตตา เคารพบูชาพระรัตนตรัยมองเห็นภัยในวัฏฏสงสาร เป็นจิตฉลาดไม่มีอวิชชา เป็นจิตที่มีพระนิพพานเป็นกรรมฐานได้ 8 กรรมฐาน คือ
- 1) พุทธานุสสติกรรมฐาน
- 2) ธรรมนุสสติกรรมฐาน
- 3) สังฆานุสสติกรรมฐาน
- 4) พรหมวิหาร 4 เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา
- 5) อุปสมานุสสติกรรมฐาน นึกถึงความดียิ่งของพระนิพพาน
- 6. เป็นการอโหสิกรรมซึ่งกันและกัน ตัดเวรตัดกรรม ยกเป็นอภัยทาน ถวายพระพุทธเจ้า ถ้าเจ้าโกรธก็เป็นการเพิ่มภพเพิ่มชาติ
8. พระคาถาสวดพระนามพระพุทธเจ้านี้ พระท่านให้ไว้แก่มวลมนุษย์มาจากเบื้องบนพระนิพพาน ให้สวดทุกวัน เพื่อช่วยมวลเวไนยสัตว์ และตนเองก็หลุดพ้นจากนรก เปรต อสุรกาย สัตว์เดรัจฉาน ไม่ต้องได้เกิดในแหล่งอบายภูมิ 4 อย่างนี้ เป็นการเสริมบารมีให้แก่ตนและผู้อื่น
9. การแผ่พลังจิตให้เป็นพลังไปรอบทิศจักรวาลทั้ง 3 โลกนั้น ทำจิตให้ว่างจากขันธ์ 5 ว่างจากกิเลสตัณหา ทำบุญกุศลทุกอย่าง ขอถวายทางจิตให้องค์สมเด็จพระ บรมครูพระพุทธเจ้าโปรดโมทนาบุญกุศลทุก ๆพระองค์ เพื่อประโยชน์สูงสุดแด่มวลสรรพสัตว์ทุกจิตดวง ธรรมญาณได้รับผลบุญที่ลูกแผ่ไป ให้ทุกดวงจิตธรรมญาณเทอญการขอแรงพลังจิตขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เป็นการขอแรงคลื่นวิทยุของท่านผู้เป็นใหญ่บุญบารมีใหญ่ ช่วยอีกแรงหนึ่งเพื่อให้สรรพสัตว์ 3 โลก ได้ยินคลื่นวิทยุได้ดียิ่งขึ้นจิตของสัตว์อบายภูมิน้อย นักที่จะได้รับได้ยินเหมือนคนตาบอด แต่ถ้าเขาโมทนายินดีรับกับการอุทิศบุญกุศลแผ่เมตตาไปให้กับเขา ก็ทำให้เขาเป็นสุข พ้นทุกข์จากอบายภูมิได้ทุกคนเราต้องทำจิตให้สะอาดทำจิตว่างจากขันธ์ 5 ปล่อยพลังจิตไปทั่วรอบทิศจักรวาล
10. สวดพระคาถาพระนามองค์สมเด็จพระปฐมบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า ฝากบุญกุศลไว้กับท่านท้าวยมราชได้แน่นอน โปรดสัตว์ได้ทั่วทั้ง 3 ไตรภพ แล้วแต่จะกำหนดจิตโปรดได้หมดทุกประเภท ทั้งชาติกำเนิด 4 คือ(เกิดในไข่ เกิดในคูต เกิดเป็นตัว เกิดขึ้นเอง เช่น ผี เทพ พรหม ) ภูมิวิถี 6 คือ
- สัตว์นรก
- เปรต
- อสุรกาย
- สัตว์เดรัจฉาน
- คน
- เทวดา พรหม
ต้องบำเพ็ญบารมีนาน 2 อสงไขยกับแสนกัป พระปัจเจกพุทธเจ้า ต้องบำเพ็ญบารมีนาน 2 อสงไขยกับแสนกัป พระพุทธเจ้าปัญญาธิกะ ต้องบำเพ็ญบารมีนาน 4 อสงไขยกับแสนกัป พระพุทธเจ้าศรัทธาธิกะ ต้องบำเพ็ญบารมีนาน 8 อสงไขยกับแสนกัป พระพุทธเจ้าวิริยะธิกะ ต้องบำเพ็ญบารมีนาน 16 อสงไขยกับแสนกัป
(คาถาแผ่เมตตาขอบารมีสมเด็จองค์ปฐมและอานิสงค์ การสวดคาถาแผ่เมตตานี้ได้มาจากท่านพระยายมราช)
คาถาเงินล้าน
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ (ท่อง 3 จบ)
นาสังสิโม
พรหมมา จะ มหาเทวา สัพเพยักขา ปะรายันติ ,
พรหมมา จะ มหาเทวา อะภิลาภา ภะวันตุ เม,
มะหาปุญโญ มหาลาโภ ภะวันตุ เม,
มิเตพาหุหะติ
พุทธะมะอะอุ นะโมพุทธายะ ,วิระทะโย วิระโคนายัง วิระหิงสา วิระทาสี วิระทาสา วิระอิตถิโย พุทธัสสะ มานีมามะ พุทธัสสะ สวาโหม
สัมปะติจฉามิ
เพ็งๆ พาๆ หาๆ ฤาๆ
(ท่อง 9 จบ)
ผู้ หมั่นภาวนาก่อนที่จะทำบุญให้ทานใด ๆ หรือสวดก่อนที่จะเข้านอนเสมอ ๆ มิได้ขาดท่านว่า จักเป็นบุญบันดาลอันประเสริฐเลิศล้ำด้วยลาภผล เป็นเศรษฐีมิต้องยากจนแล
นาสังสิโม
พรหมมา จะ มหาเทวา สัพเพยักขา ปะรายันติ ,
พรหมมา จะ มหาเทวา อะภิลาภา ภะวันตุ เม,
มะหาปุญโญ มหาลาโภ ภะวันตุ เม,
มิเตพาหุหะติ
พุทธะมะอะอุ นะโมพุทธายะ ,วิระทะโย วิระโคนายัง วิระหิงสา วิระทาสี วิระทาสา วิระอิตถิโย พุทธัสสะ มานีมามะ พุทธัสสะ สวาโหม
สัมปะติจฉามิ
เพ็งๆ พาๆ หาๆ ฤาๆ
(ท่อง 9 จบ)
ผู้ หมั่นภาวนาก่อนที่จะทำบุญให้ทานใด ๆ หรือสวดก่อนที่จะเข้านอนเสมอ ๆ มิได้ขาดท่านว่า จักเป็นบุญบันดาลอันประเสริฐเลิศล้ำด้วยลาภผล เป็นเศรษฐีมิต้องยากจนแล
สถานที่ฝึกมโนมยิทธิ
กรุงเทพฯ
- บ้านสายลม เลขที่ 9 ซอยสายลม 1 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทร. (02) 271-3868 , (02) 272-6759
- วัดกระทุ่มเสือปลา มีพระอาจารย์องอาจ อาภาโร เจ้าอาวาส ซอยอ่อนนุช 67 เขตประเวศ กรุงเทพฯ โทร. (02) 328-7776 ฝึกทุกวันเสาร์ เวลา 19.00-21.30 น.
- บางโพ อยู่ข้างโรงพยาบาลบางโพ ฝึกทุกวันเสาร์อาทิตย์แรกของเดือน กรุงเทพฯ โทร.02-912-9031
- หมู่บ้านสีวลี รังสิต(สี่มุมเมือง) เลขที่ 600/1404 ซอย 6/5 ต.คูคต อ.ลำลูกกา ปทุมธานี 12130 โทร.02-992-3023 เปิดรับแขก 08.30-16.30 น. วันศุกร์ 1-9
สอนมโนมยิทธิ เวลา 19.30-21.30 น. ของทุกเดือน
- บ้านสายลม เลขที่ 9 ซอยสายลม 1 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทร. (02) 271-3868 , (02) 272-6759
- วัดกระทุ่มเสือปลา มีพระอาจารย์องอาจ อาภาโร เจ้าอาวาส ซอยอ่อนนุช 67 เขตประเวศ กรุงเทพฯ โทร. (02) 328-7776 ฝึกทุกวันเสาร์ เวลา 19.00-21.30 น.
- บางโพ อยู่ข้างโรงพยาบาลบางโพ ฝึกทุกวันเสาร์อาทิตย์แรกของเดือน กรุงเทพฯ โทร.02-912-9031
- หมู่บ้านสีวลี รังสิต(สี่มุมเมือง) เลขที่ 600/1404 ซอย 6/5 ต.คูคต อ.ลำลูกกา ปทุมธานี 12130 โทร.02-992-3023 เปิดรับแขก 08.30-16.30 น. วันศุกร์ 1-9
สอนมโนมยิทธิ เวลา 19.30-21.30 น. ของทุกเดือน
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)